Advertisment |
Saturday, June 25, 2011
ความลับการเมืองไทย จากใจ แอนดรูว์ มาร์แชล (Andrew Marshall) อดีตผู้สื่อข่าวรอยเตอร์
Advertisment |
ในช่วงเดือนที่ผ่านมา ผมทำงานหนักกว่า 16 ชั่วโมงต่อวันโดยที่ไม่ได้รับค่าจ้าง เพื่อเขียนเรื่องที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีการพูดถึงในวงกว้าง เป็นเรื่องราวที่ผมแลกมาด้วยการลาออกจากรอยเตอร์ งานที่ผมรักอย่างยิ่งและทำมากว่า 17 ปี เมื่อเรื่องนี้ได้รับการนำเสนอ ผมก็คงเสียโอกาสที่จะเดินทางกลับไปยังประเทศที่ผมชอบมากในช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา เพราะว่ามีความเสี่ยงอยู่ ซึ่งแม้จะเล็กน้อย แต่ก็เป็นจริงนั่นก็คือผมจะต้องเสี่ยงต่อการถูกดำเนินคดีตามกฎหมายระหว่างประเทศ และคนจำนวนหนึ่งที่ผมนับถือในฐานะเพื่อนก็อาจจะรู้สึกหวาดหวั่น และอาจจะไม่พูดกับผมอีก
คำถามสำคัญก็คือ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น
คำตอบก็คือ -อย่างไม่น่าเชื่อ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ในศตวรรษที่ 21 นี่คือราคาที่ต้องจ่ายเมื่อคุณพยายามที่จะพูดความจริงเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศที่ทันสมัยและเปิดกว้างอย่างประเทศไทย
ประเทศไทยอ้างตัวว่าเป็นประชาธิปไตย และจะมีการเลือกตั้งในวันที่ 3 ก.ค. ที่จะถึงนี้ ประเทศไทยอ้างว่าปกครองในระบอบ กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy), ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งมีพระชนมายุ 83 พรรษา ทรงเป็นที่รักยิ่งของประชาชน ไม่ทรงมีบทบาทในทางการเมือง แต่ทรงเป็นผู้ชี้แนะทางศีลธรรมจรรยา
ไม่เป็นที่สงสัยเลยถึงความเคารพรักเทิดทูนที่ประชาชนไทยมีต่อกษัตริย์ของพวกเขา แต่เรื่องเศร้าของประเทศไทยก็คือว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาในช่วงประวัติศาสตร์สมัยใหม่ นายทหารและข้าราชบริพารได้บ่อนทำลายประชาธิปไตยโดยอ้างว่ากระทำการในนามของราชสำนัก
ประเทศไทยนั้นถอยหลังเข้าสู่ลัทธิเผด็จการและการกดขี่ และเครื่องบ่งชี้อย่างตายตัวก็คือ แม้แต่การพูดถึงอุดมการณ์ชนิดนี้ก็ผิดกฎหมายแล้ว
ไทยเป็นประเทศที่มีกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพรุนแรงที่สุดในโลก การหมิ่นประมาทใดๆ ต่อพระมหากษัตริย์ พระราชินิ หรือองค์รัชทายาท มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ถึง 15 ปี การใช้กฎหมายดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการรัฐประหาร 2549 นักวิชาการและสื่อมวลชนที่ได้รับการยอมรับจำนวนหนึ่งถูกฟ้องร้องด้วยกฎหมายนี้ ใจ อึ๊งภากรณ์ นักวิชาการสัญชาติไทย-อังกฤษ ก็อยู่ระหว่างลี้ภัยในลอนดอนเนื่องจากถูกกล่าวหาว่า หมิ่นประมาทราชสำนัก
ผมอาศัยอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2543 ในฐานะหัวหน้าฝ่ายข่าวของรอยเตอร์ สำนักงานสาขากรุงเทพฯ ผมตกหลุมรักในความงามของวัฒนธรรม และวิถีชีวิตอันเปี่ยมสุขและอบอุ่นของผู้คนอย่างรวดเร็ว ที่นี่ดูไม่เหมือนประเทศที่ตกอยู่ภายใต้การกดขี่ ทว่าสิ่งที่เห็นนั้นต่างจากสิ่งที่เป็น เรื่องบอกเล่าอย่างเป็นทางการว่าที่นี่คือ “ดินแดนแห่งรอยยิ้ม” คือเทพนิยาย ประเทศไทยคือประเทศแห่งความลับ
คนไทยจำนวนมากวาดภาพ XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX ไปในทางหวาดกลัว ส่วน XXX XXXXXX ดูเหมือนว่าจะมีระยะห่างกับประชาชนมากกว่าพระเจ้าอยู่หัวฯ และคนจำนวนหนึ่งก็เข้าใจว่า มีความเห็นอกเห็นใจฝ่ายขวาสุดโต่ง “เสื้อเหลือง” ซึ่งยึดสนามบินเมื่อปี 2551 และไม่ว่าอย่างไรก็ถูกใช้เป็นข้ออ้างต่อการโค่นรัฐบาลขณะนั้น กองทัพนั้นก็ใช้กฎหมายจัดการอย่างต่อเนื่องกับการวิพากษ์วิจารณ์บทบาทอันร้ายกาจของตนที่บ่อนทำลายประชาธิปไตย
สื่อมวลชนภายในประเทศไม่สามารถรายงานสิ่งเหล่านี้ได้เลย และสื่อต่างประเทศก็เซนเซอร์ตัวเองอย่างชัดแจ้ง สื่อมวลชนจำนวนมากหันมาใช้วิธีบอกเป็นนัยๆ เมื่อต้องนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับประเทศไทย เช่นประวิตร โรจนพฤกษ์ หนึ่งในผู้สื่อข่าวที่ดีที่สุดคนหนึ่งของไทยเขียนในรายงานของเขาเดือนนี้ โดยใช้คำว่า “มือที่มองไม่เห็น”, “อำนาจพิเศษ”, “อำนาจที่ปฏิเสธไม่ได้” ถ้อยคำเหล่านี้ถูกเอ่ยอ้างโดยประชาชน สื่อ และนักการเมืองบ่อยขึ้นในช่วงเวลาไม่นานมานี้ เมื่อพวกเขาอภิปรายเกี่ยวกับการเมืองไทย และการเลือกตั้งที่จะมีขึ้น
3 เดือนที่แล้ว ผมมีโอกาสเข้าถึง “ช่องทาง” ข้อมูลลับของทางการสหรัฐ ที่พลทหารแบรดลีย์ แมนนิง ดาวโหลดเก็บไว้ระหว่างที่ประจำการอยู่ในอิรัก มีเอกสารมากกว่า 3,000 ฉบับที่เกี่ยวกับประเทศไทย สิ่งที่แตกต่างจากการรายงานส่วนใหญ่ในบรรดาข่าวเกี่ยวกับประเทศแห่งนี้ก็คือ ในเอกสารลับเหล่านั้น ไม่พูดอ้อมค้อมเมื่อกล่าวถึงสถาบันกษัตริย์ เมื่อผมได้อ่าน ผมก็ได้ตระหนัก 2 ประการคือ เอกสารเหล่านี่จะช่วยปฏิวัติความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศไทย และประการที่สองคือ ผมไม่มีทางที่จะเขียนถึงเรื่องเหล่านี้ได้หากอยู่ในฐานะผู้สื่อข่าวของรอยเตอร์
รอยเตอร์จ้างพนักงานชาวไทยมากกว่า 1,000 คน ความเสี่ยงที่จะเกิดกับพวกเขาเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ในระยะเวลา 17 ปีที่ผมทำงานกับรอยเตอร์ ผมได้พบกับความขัดแย้งหลายอย่าง ผมใช้เวลา 2 ปีในแบกแดดในตำแหน่งหัวหน้าสำนักสาขา ขณะที่อิรักตกอยู่ในสถานการณ์สงครามกลางเมือง เพื่อนร่วมงานหลายคนถูกฆ่าตาย ผมภูมิใจเสมอมาที่ได้ทำงานให้รอยเตอร์ และเมื่อผมได้รับคำอธิบายว่างานของผมตีพิมพ์ไม่ได้ ผมก็เข้าใจ
แต่ผมก็ไม่สามารถจะเลิกล้มหรือเพิกเฉยต่อความจริงเกี่ยวกับประเทศไทย ประชาชนไทยสมควรที่จะมีสิทธิรับรู้ข้อมูลอย่างครบถ้วน เพื่อการถกเถียงเกี่ยวกับอนาคตของพวกเขาเองโดยปราศจากความกลัว ผมลาออกจากรอยเตอร์ด้วยความเสียใจอย่างสุดซึ้ง เมื่อผมเริ่มเผยแพร่บทความของผมเพื่อใครก็ได้ที่ต้องการอ่าน
วันนี้ ผมได้ทำแล้ว ผมกลายเป็นอาชญากรแล้วในประเทศไทย เสียใจอย่างที่สุดที่ผมไม่อาจกลับไปยังประเทศที่น่าอัศจรรย์เช่นนั้นได้อีก แต่ผมจะเสียใจยิ่งกว่าหากว่ามีโอกาสที่จะบอกความจริงแล้วกลับล้มเหลวที่จะใช้โอกาสนั้น มันคือหน้าที่ของสื่อมวลชน และหน้าที่ของมนุษย์ที่จะทำให้ดียิ่งกว่า และนั่นคือเหตุผลที่ผมเผยแพร่ผลงานของตนเอง
คำถามสำคัญก็คือ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น
คำตอบก็คือ -อย่างไม่น่าเชื่อ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ในศตวรรษที่ 21 นี่คือราคาที่ต้องจ่ายเมื่อคุณพยายามที่จะพูดความจริงเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศที่ทันสมัยและเปิดกว้างอย่างประเทศไทย
ประเทศไทยอ้างตัวว่าเป็นประชาธิปไตย และจะมีการเลือกตั้งในวันที่ 3 ก.ค. ที่จะถึงนี้ ประเทศไทยอ้างว่าปกครองในระบอบ กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy), ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งมีพระชนมายุ 83 พรรษา ทรงเป็นที่รักยิ่งของประชาชน ไม่ทรงมีบทบาทในทางการเมือง แต่ทรงเป็นผู้ชี้แนะทางศีลธรรมจรรยา
ไม่เป็นที่สงสัยเลยถึงความเคารพรักเทิดทูนที่ประชาชนไทยมีต่อกษัตริย์ของพวกเขา แต่เรื่องเศร้าของประเทศไทยก็คือว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาในช่วงประวัติศาสตร์สมัยใหม่ นายทหารและข้าราชบริพารได้บ่อนทำลายประชาธิปไตยโดยอ้างว่ากระทำการในนามของราชสำนัก
ประเทศไทยนั้นถอยหลังเข้าสู่ลัทธิเผด็จการและการกดขี่ และเครื่องบ่งชี้อย่างตายตัวก็คือ แม้แต่การพูดถึงอุดมการณ์ชนิดนี้ก็ผิดกฎหมายแล้ว
ไทยเป็นประเทศที่มีกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพรุนแรงที่สุดในโลก การหมิ่นประมาทใดๆ ต่อพระมหากษัตริย์ พระราชินิ หรือองค์รัชทายาท มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ถึง 15 ปี การใช้กฎหมายดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการรัฐประหาร 2549 นักวิชาการและสื่อมวลชนที่ได้รับการยอมรับจำนวนหนึ่งถูกฟ้องร้องด้วยกฎหมายนี้ ใจ อึ๊งภากรณ์ นักวิชาการสัญชาติไทย-อังกฤษ ก็อยู่ระหว่างลี้ภัยในลอนดอนเนื่องจากถูกกล่าวหาว่า หมิ่นประมาทราชสำนัก
ผมอาศัยอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2543 ในฐานะหัวหน้าฝ่ายข่าวของรอยเตอร์ สำนักงานสาขากรุงเทพฯ ผมตกหลุมรักในความงามของวัฒนธรรม และวิถีชีวิตอันเปี่ยมสุขและอบอุ่นของผู้คนอย่างรวดเร็ว ที่นี่ดูไม่เหมือนประเทศที่ตกอยู่ภายใต้การกดขี่ ทว่าสิ่งที่เห็นนั้นต่างจากสิ่งที่เป็น เรื่องบอกเล่าอย่างเป็นทางการว่าที่นี่คือ “ดินแดนแห่งรอยยิ้ม” คือเทพนิยาย ประเทศไทยคือประเทศแห่งความลับ
คนไทยจำนวนมากวาดภาพ XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX ไปในทางหวาดกลัว ส่วน XXX XXXXXX ดูเหมือนว่าจะมีระยะห่างกับประชาชนมากกว่าพระเจ้าอยู่หัวฯ และคนจำนวนหนึ่งก็เข้าใจว่า มีความเห็นอกเห็นใจฝ่ายขวาสุดโต่ง “เสื้อเหลือง” ซึ่งยึดสนามบินเมื่อปี 2551 และไม่ว่าอย่างไรก็ถูกใช้เป็นข้ออ้างต่อการโค่นรัฐบาลขณะนั้น กองทัพนั้นก็ใช้กฎหมายจัดการอย่างต่อเนื่องกับการวิพากษ์วิจารณ์บทบาทอันร้ายกาจของตนที่บ่อนทำลายประชาธิปไตย
สื่อมวลชนภายในประเทศไม่สามารถรายงานสิ่งเหล่านี้ได้เลย และสื่อต่างประเทศก็เซนเซอร์ตัวเองอย่างชัดแจ้ง สื่อมวลชนจำนวนมากหันมาใช้วิธีบอกเป็นนัยๆ เมื่อต้องนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับประเทศไทย เช่นประวิตร โรจนพฤกษ์ หนึ่งในผู้สื่อข่าวที่ดีที่สุดคนหนึ่งของไทยเขียนในรายงานของเขาเดือนนี้ โดยใช้คำว่า “มือที่มองไม่เห็น”, “อำนาจพิเศษ”, “อำนาจที่ปฏิเสธไม่ได้” ถ้อยคำเหล่านี้ถูกเอ่ยอ้างโดยประชาชน สื่อ และนักการเมืองบ่อยขึ้นในช่วงเวลาไม่นานมานี้ เมื่อพวกเขาอภิปรายเกี่ยวกับการเมืองไทย และการเลือกตั้งที่จะมีขึ้น
3 เดือนที่แล้ว ผมมีโอกาสเข้าถึง “ช่องทาง” ข้อมูลลับของทางการสหรัฐ ที่พลทหารแบรดลีย์ แมนนิง ดาวโหลดเก็บไว้ระหว่างที่ประจำการอยู่ในอิรัก มีเอกสารมากกว่า 3,000 ฉบับที่เกี่ยวกับประเทศไทย สิ่งที่แตกต่างจากการรายงานส่วนใหญ่ในบรรดาข่าวเกี่ยวกับประเทศแห่งนี้ก็คือ ในเอกสารลับเหล่านั้น ไม่พูดอ้อมค้อมเมื่อกล่าวถึงสถาบันกษัตริย์ เมื่อผมได้อ่าน ผมก็ได้ตระหนัก 2 ประการคือ เอกสารเหล่านี่จะช่วยปฏิวัติความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศไทย และประการที่สองคือ ผมไม่มีทางที่จะเขียนถึงเรื่องเหล่านี้ได้หากอยู่ในฐานะผู้สื่อข่าวของรอยเตอร์
รอยเตอร์จ้างพนักงานชาวไทยมากกว่า 1,000 คน ความเสี่ยงที่จะเกิดกับพวกเขาเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ในระยะเวลา 17 ปีที่ผมทำงานกับรอยเตอร์ ผมได้พบกับความขัดแย้งหลายอย่าง ผมใช้เวลา 2 ปีในแบกแดดในตำแหน่งหัวหน้าสำนักสาขา ขณะที่อิรักตกอยู่ในสถานการณ์สงครามกลางเมือง เพื่อนร่วมงานหลายคนถูกฆ่าตาย ผมภูมิใจเสมอมาที่ได้ทำงานให้รอยเตอร์ และเมื่อผมได้รับคำอธิบายว่างานของผมตีพิมพ์ไม่ได้ ผมก็เข้าใจ
แต่ผมก็ไม่สามารถจะเลิกล้มหรือเพิกเฉยต่อความจริงเกี่ยวกับประเทศไทย ประชาชนไทยสมควรที่จะมีสิทธิรับรู้ข้อมูลอย่างครบถ้วน เพื่อการถกเถียงเกี่ยวกับอนาคตของพวกเขาเองโดยปราศจากความกลัว ผมลาออกจากรอยเตอร์ด้วยความเสียใจอย่างสุดซึ้ง เมื่อผมเริ่มเผยแพร่บทความของผมเพื่อใครก็ได้ที่ต้องการอ่าน
วันนี้ ผมได้ทำแล้ว ผมกลายเป็นอาชญากรแล้วในประเทศไทย เสียใจอย่างที่สุดที่ผมไม่อาจกลับไปยังประเทศที่น่าอัศจรรย์เช่นนั้นได้อีก แต่ผมจะเสียใจยิ่งกว่าหากว่ามีโอกาสที่จะบอกความจริงแล้วกลับล้มเหลวที่จะใช้โอกาสนั้น มันคือหน้าที่ของสื่อมวลชน และหน้าที่ของมนุษย์ที่จะทำให้ดียิ่งกว่า และนั่นคือเหตุผลที่ผมเผยแพร่ผลงานของตนเอง
เปิดใจแอนดรูว์ มาร์แชล (Andrew Marshall) ‘ความลับ’ การเมืองไทย “ช้างตายทั้งตัว เอาใบบัวปิดไม่มิด”
Advertisment |
แอนดรูว์ มาร์แชล ผู้กุมข้อมูลวิกิลีกส์เรื่องเมืองไทยเปิดใจ เป็นหน้าที่ในฐานะสื่อและในฐานะมนุษย์ที่ต้องเผยแพร่ให้คนไทยได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน ระบุ สยามเมืองยิ้มเป็นแค่เทพนิยาย แต่ความจริงไทยคือดินแดนแห่งความลับ นายทหาร และข้าราชบริพารบ่อนทำลายประชาธิปไตย โดยอ้างว่ากระทำการในนามของราชสำนัก
แอนดรูว์ มาร์แชล เป็นผู้สื่อข่าวสังกัดรอยเตอร์มากว่า 17 ปี และตัดสินใจลาออกจากรอยเตอร์หลังจากเขาประสงค์จะเผยแพร่ข้อมูลจากวิกิลีกส์ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับประเทศไทยถึง 3,000 ฉบับ โดยเขาเริ่มเขียนรายงานเชิงวิเคราะห์จากข้อมูลในเอกสารลับของทางการสหรัฐ โดยเผยแพร่ผลงานชิ้นแรกพร้อมๆ กับที่เว็บไซต์ไทยเคเบิลก็ปล่อยข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยที่รั่วไหลจากทางการสหรัฐมาจำนวนหลายสิบฉบับในเช้าวันนี้ (23 มิ.ย.)
รายงานขนาดยาววิเคราะห์การเมืองไทยเรื่อง ไทย: ห้วงยามแห่งความจริง (Thailand: Moment of Truth) มีทั้งหมด 4 ตอน โดยตอนแรก ซึ่งเผยแพร่เช้าวันนี้ มีเนื้อหา 108 หน้า เขายกเอาภาษิตไทยมาอ้างไว้ในงานเขียนหน้าแรกว่า “ช้างตายทั้งตัว เอาใบบัวปิดไม่มิด”
Andrew MacGregor Marshall: Why I decided to jeopardise my career and publish secrets
ที่มา: The Independent
Friday, June 24, 2011
แอนดรูว์ มาร์แชล คือใคร
Advertisment |
อ่านประวัติของเต็มได้ที่ http://www.zenjournalist.com/bio/
"I’m a freelance journalist based in Asia and writing mainly about Asian politics, human rights, political risk and media ethics.
For 17 years I worked for Reuters, including long spells as correspondent in Jakarta in 1998-2000, deputy bureau chief in Bangkok in 2000-2002, Baghdad bureau chief in 2003-2005, and managing editor for the Middle East in 2006-2008. In 2008 I moved to Singapore as chief correspondent for political risk, and in late 2010 I became deputy editor for emerging and frontier Asia.
I’ve reported from more than three dozen countries, on every continent except South America. I’ve covered conflicts in Iraq, Afghanistan, Pakistan, Lebanon, the Palestinian Territories and East Timor; and political upheaval in Israel, Indonesia, Cambodia, Thailand and Burma. Of all the leading world figures I’ve interviewed, the three I most enjoyed talking to were Aung San Suu Kyi, Xanana Gusmao, and the Dalai Lama.
I also regularly give presentations to corporate executives and finance industry analysts, mainly on political risk, dealing with risk as a manager, and on predicting future political and social trends in Asia. I’ve lectured at several universities in Asia and Europe, and also given presentations to military officers at the Pentagon, in London and at the Peace Support Operations Training Centre in Sarajevo, to train soldiers on how to safely coexist with journalists in conflict zones.
At the start of June 2011 I resigned from Reuters, with regret, in order to publish what I consider to be an important and necessary story about Thailand. Because of Thailand’s harsh lèse majesté, defamation and computer crimes laws, which criminalize telling the truth about powerful figures, it was not possible for Reuters to guarantee the safety of its staff within Thailand if it ran the story."
Thursday, June 23, 2011
Journalist Publishes the Thailand Expose for Which He Quit His Job
Advertisment |
Today, after a month of working 16-hour days, Marshall has published the first installment of his story, and explained why he jeopardized his career to do so. Thailand, he explains in an article in The Independent, may seem like a "modern and open" constitutional monarchy, but generals and palace courtiers are sending it "backwards into authoritarianism and repression." In particular, he calls out the country's enforcement of its lese majeste law, which makes any insult to 83-year-old King Bhumibol (pictured above), Queen Sirikit, or their son, Crown Prince Vajiralongkorn, punishable by up to fifteen years in jail. When he got access three months ago to confidential U.S. cables on Thailand believed to have been downloaded by U.S. soldier and WikiLeaks informant Bradley Manning, he knew he had to write the piece. But, he says, Reuters wouldn't publish the story because it didn't want to put its 1,000-plus employees in Thailand at risk. Reuters, for its part, tells The Independent that it didn't run the piece because it had "questions regarding length, sourcing, objectivity, and legal issues" (the State Department has neither confirmed nor denied the authenticity of the cables).
What does Marshall's lengthy expose--published just days before Thailand's general election--reveal? The documents indicate that Crown Prince Vajiralongkorn, who is next in line to the throne, has health problems, that an increasingly influential Queen Sirikit supports the Yellow Shirt movement that helped oust prime minister Thaksin Shinawatra in a 2006 coup, and that the country could face a succession crisis when the ailing King Bhumibol dies. Ultimately, the BBC notes, "many of the issues raised in the cables are known about and discussed privately in Thailand. But there is a taboo around their public discussion in the country."
Source: http://www.theatlanticwire.com/global/2011/06/journalist-publishes-thailand-expose-he-quit-his-job-over/39190/
Andrew MacGregor Marshall: Why I decided to jeopardise my career and publish secrets
Advertisment |
For the past month, I have worked 16 hours a day, without pay, on a story that is likely to be widely denounced. It is a story that has already cost me a job I loved with Reuters, after a 17-year career. Once it is published, I will be unable to return to one of my favourite countries for many years. There is a risk – small, but real – that I will face international legal action. And several people who I consider friends will be dismayed, and probably never talk to me again.
The obvious question is: why?
The answer is that – incredibly, a decade into the 21st century – this is the price that has to be paid for trying to tell the truth about an apparently modern and open country: Thailand.
Thailand claims to be a democracy, and it is holding general elections on 3 July. It claims to be a constitutional monarchy, where the widely beloved 83-year-old King Bhumibol has no political role but provides moral guidance.
There is no doubting the affection and respect that Thais have for their king. But Thailand's tragedy is that throughout its modern history, generals and courtiers have sabotaged Thai democracy while claiming to be acting in the name of the palace.
Thailand is sliding backwards into authoritarianism and repression. And one stark indication of this is that just saying it is illegal.
Thailand has the world's harshest lèse majesté law. Any insult to Bhumibol, Queen Sirikit or their son Crown Prince Vajiralongkorn, is punishable by three to 15 years in jail. Use of the law has surged, particularly since a coup in 2006. Respected academics and journalists are among those facing prison. One Thai-British professor, Giles Ungpakorn, is living in exile in London after fleeing Thailand following accusations he defamed the palace.
I arrived in Thailand in 2000, as Reuters' deputy bureau chief. I quickly fell in love with the luminous beauty of Thai culture and the warmth and joie de vivre of the people. It does not appear like a nation in the grip of repression, but things are not as they seem. The official story of a harmonious "Land of Smiles" is a fairy tale. Thailand is a country of secrets.
Many Thais have little respect for the crown prince and regard the prospect of him becoming king with dread. Queen Sirikit is deemed to be distanced from King Bhumibol and thought by some to be sympathetic to the ultra-right-wing "yellow shirts", who besieged Bangkok's airports in 2008 in an effort to topple the government. The military has consistently used the law to shield itself from critical scrutiny of its baleful role in sabotaging democracy.
Thailand's domestic media cannot report any of this, and the international media has resorted to explicit self-censorship. Journalists resort to vague hints when covering Thailand. As Pravit Rojanaphruk, one of the country's best correspondents, wrote this month: "The 'invisible hand', 'special power', 'irresistible force', all these words have been mentioned frequently lately by people, politicians and the mass media when discussing Thai politics, the upcoming general election and what may follow."
Three months ago I gained access to the "Cablegate" database of confidential US cables believed to have been downloaded by US soldier Bradley Manning in Iraq. There are more than 3,000 cables on Thailand. Unlike almost all reporting on the country, the cables do not mince words when it comes to the monarchy. As I read them I realised two things. They could revolutionise our understanding of Thailand. And there was no way I could write about them as a Reuters journalist.
Reuters employs more than 1,000 Thai staff. The risks to them were significant. In my 17 years at Reuters I've covered many conflicts; I spent two years as Baghdad bureau chief as Iraq collapsed into civil war. Several friends in the company have been killed. I've always been proud to work for Reuters. When I was told my story could never be published, I understood.
But I just could not accept giving up and ignoring the truth about Thailand. Thai people deserve the right to be fully informed, to debate their future without fear. With great regret, I resigned from Reuters at the start of June to publish my article for anybody who wants to read it.
Today, I have done that. I am now a criminal in Thailand. It is desperately sad to know that I cannot visit such a wonderful country again. But it would have been sadder still to have had the chance to tell the truth, and fail to do so. It's my duty as a journalist, and a human being, to do better than that. That's why I published my story.
Source: http://www.independent.co.uk/opinion/commentators/andrew-macgregor-marshall-why-i-decided-to-jeopardise-my-career-and-publish-secrets-2301363.html
Wednesday, June 15, 2011
'Invisible hand' throttles our democracy
Advertisment |
These expressions are used as a substitute for an alleged unspeakable and unconstitutional force in Thai politics, to make the otherwise incomplete stories about politics and its manipulation slightly more comprehensible.
Last week, Chart Thai Pattana party leader Chumpol Silpa-acha claimed his party was coerced to join the Democrat-led coalition government in 2008 through some "irresistible force". By the way, that crucial coalition-formation talk took place at the residence of then Army Chief General Anuphong Paochinda.
On Sunday, PM Abhisit Vejjajiva, leader of the Democrat party, claimed there was neither an "invisible hand" nor "special power" in Thai politics.
However, many Thais- including some long-term observers of Thai politics and society - will likely continue to talk about the existence of the invisible hand, or the special power, for as long as our politics work in their mysterious ways.
Earlier this month, veteran Reuters correspondent Andrew Marshall, a deputy Bureau Chief in Bangkok between 2000 to 2002, who moved to Singapore in 2008, resigned from his post as deputy editor to write about Thailand, the invisible hand and the latest batch of WikiLeaks.
Marshall justified his regretful resignation in order to write honestly on his blog about Thai politics without fear by stating:
"Because of Thailand's harsh lese majeste, defamation and computer crimes laws, which criminalise telling the truth about powerful figures, it was not possible for Reuters to guarantee the safety of its staff within Thailand if it ran the story."
As far as this writer is aware, Reuters' Bangkok Bureau is bracing for a visit from the Thai authorities as Marshall, who is not in Thailand, begins uploading his 40,000 to 50,000 words story today.
What Marshall has written aside, we can view "the invisible hand" as a puppet master, who pulls the string of Thai politics from behind.
The hand (he or she, there could be more than one invisible hand), operates in the shadow because it cannot bear the scrutiny, the transparency and accountability of a democratic society. It also apparently does not believe the majority of voters should be able to elect their own representatives and determine the future course of Thai society.
The flesh and blood puppets of the invisible hand can at time rebel and become a loose cannon, however. What Chumpol said last week might have been an aberration of a puppet and so he quickly enough, but belatedly, tried to play down what he had said earlier.
There are many puppets. Their job is to make unconstitutional and unpalatable things acceptable and be rewarded. These flesh and blood puppets do have their own ambitions and interests too, so their relationship with the puppet master, or the invisible hand, isn't actually that straightforward and smooth, and not always subservient.
The invisible hand remains invisible, however, pulling the strings from behind, manipulating things, and silencing critics through the use of laws as mentioned by Marshall or through propaganda.
Like a vampire fearing the scrutiny of sunlight, Thai politics can never be comprehensible or democratic without trying to make visible the invisible hand.
Who was the real mastermind of the military coup in September 2006? Was there an order to shoot to kill in April and May 2010? A year after, why has not a single person been arrested and charged in relation to the 91 deaths which occurred during the clashes between red shirts and soldiers in Bangkok? Will the invisible hand act after the July third election?
Yes, the invisible hand is still invisible, but increasingly, people are visibly talking about it.
By Pravit Rojanaphruk
Source: http://www.nationmultimedia.com/2011/06/15/national/Invisible-hand-throttles-our-democracy-30157823.html
Subscribe to:
Posts (Atom)